วันจันทร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2554

ชีวมวล

ชีวมวล
พลังงานชีวมวล หมายถึง พลังงานที่ได้จากชีวมวลชนิดต่างๆ เช่น พืชผลทางเกษตร ของเหลือจากอุสาหกรรมและชุมชน โดยผ่านกระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเป็นพลังงานรูปแบบต่างๆ

แก๊สโซฮอล์

แก๊สโซฮอล์ เป็นพลังงานทดแทนที่เกิดจากการผสมน้ำมันแก๊สโซลีนหรือแบนซินกับแก๊สโซฮอล์ 95(เอทานอลผสมอยู่ร้อยละ 10 กับน้ำมันแบนซิน 91 อีกร้อยละ 90 เรียกว่า E10)
ผลดีของแก๊สโซฮอล์ต่อเครื่องยนต์
๑. ช่วยประหยัดเชื้อเพลิงเช่นเดียวกับน้ำมันเบนซินออกเทน 95
๒. ไม่มีผลกระทบต่อสมรรถนะการใช้งาน และอัตการเร่งดีกว่าหรือไม่แตกต่างจากน้ำมันเบนซิน 95
๓. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินการปรับแต่งเครื่องยนต์
๔. สามารถเติมผสมกับน้ำมันที่เหลืออยู่ในถังได้เลยโดยไม่ต้องรอให้น้ำมันในถังหมด

ไบโอดีเซล
ไบโอดีเซล (Biodesel) เชื้อเพลิงเหลวที่ได้จากน้ำฮอล์ ทำปฏิกิริยากันจนได้เชื้อเพลิงเพื่อใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล
· ข้อดีของไบโอดีเซล
การสันดาปสมบูรณ์ไม่มีควันดำและซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ลดการนำเข้าน้ำมันดิบได้บางส่วน
มีค่าดัชนีการจุดติดไฟ ( ค่าซีเทน ) สูงกว่าน้ำมันดีเซล
เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะพืชน้ำมัน
· ข้อด้อยของไบโอดีเซล
ไบโอดีเซลแบบใช้น้ำมันจากพืชหรือสัตว์มีผลต่อลูกสูบและวาล์ว
เมื่ออากาศเย็นน้ำมันจะมีความหนืดสูงทำให้สตาร์ทติดยาก

แก๊สธรรมชาติ

แก๊สธรรมชาติเกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์กลายเป็นแก๊สมักพบบริเวรที่เป็นภาคพื้นน้ำ
แก๊สที่พบบ่อย เช่น
1. แก๊สมีเทน
2. บิวเทน
3. โพรเพน
4. เฮกเวน
และแก๊สอื่นๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์

คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ
1.ไม่มีสี ไม่มีกลิ่นและพิษ
2. ค่าความถ่วงจำเพาะต่ำกว่าอากาศ จึงเบากว่าอากาศ
3. เมื่อเกิดการรั่วไหลจะฟุ้งไปตามบรรยากาศอย่างรวดเร็ว จึงไม่มีการสะสมลุกไหม้บนพื้นราบ
4. เป็นเชื้อเพลิงสะอาด ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
5. เป็นพลังงานที่ปลอดภัยสูงสุด

แบบทดสอบ
1. ข้อแตกต่างระหว่างแก๊สธรรมชาติเหลว( LNG ) และแก๊สปิโตรเลียมเหลว ( LPG) ข้อใด
ถุกต้อง
ก. ในการนำมาเป็นเชื้อเพลิง LNG ใช้ในครัวเรีอนและยานพาหนะ ส่วน LPG ใช้ในอุตสาหกรรม
ข. การนำมาใช้ประโยชน์ต้องกำจัดแก๊สที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอนออกจากLNG ส่วน LPG ใช้ได้เลย
ค. LNG เป็นแก๊สผสมสามารถนำไปกลั่นได้น้ำมันเบนซิน ส่วน LPG เป็นแก๊สผสมไฮโดรคาร์บอน และได้ จากการกลั่นน้ำมันดิบ

1. ข้อ ก และ ข ถูก
2. ข้อ ข และ ค ถูก
3. ข้อ ค และ ก ถูก
4. ข้อ ก ข และ ค ถูก


2. น้ำมันในข้อใดใช้ทำไบโดดีเซลไม่ได้
ก. น้ำมันหมู
ข. น้ำมันปาล์ม
ค. น้ำมันโซล่า
ง. น้ำมันเมล็ดละหุ่ง

3. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการปรับปรุงโครงสร้างของไฮโดรคาร์บอนที่ไม่เป็นที่ต้องการ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงได้
ก. รีฟอร์มมิ่ง
ข. แอลคิเลชัน
ค. การแตกสลาย
ง. พอลิเมอร์ไรเซชัน

4. แก๊สในข้อใดเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก๊สธรรมชาติ
ก. มีเทน
ข. อีเทน
ค. เอทิลีน
ง. อะเซทิลีน



เฉลย
1. ง.
2. ค.
3. ง.
4. ค.

อ้างอิง : วารสารแม็ค ม.ปลาย ฉบับที่ 3 ปีที่ 28 สิงหาคม 2551

วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553

จงอ่านชื่อของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ดังนี้


1.
2.

3.
4.

5.
6.

7.

8.
9.
10. 11.


12.
13.
14.
15.

จงเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมื่อกำหนดชื่อของสาร ดังนี้
1. 2,2 – ไดเมทิลโนเนน
2. 2- เมทิลออกเทน
3. ไซโคลบิวเทน
4. 4 – เมทิล-2- เพนทีน
5. 3- โพรพิล- 1- เฮกซีน
6. 2- บิวทีน
7. 2 เมทิลโพรพีน
8. 4 – เอทิล – 2 – เฮปไทน์
9. 2 – เพนไทน์
10. 2 – บิวไทน์
11. 2 - เมทิล - เพนทีน
12. โพรไพน์
13. 3 – เมทิล – 5 – เมทิล – 2 – เฮกซีน
14. 2 – เมทิลโพรพีน
15. 4 – โพรพิล – 3 - เพนทีน